วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556

“failed to fetch” error เมื่อ apt-get update


มีบ้างครั้งเมื่อเรา apt-get update แล้วมีการ error ที่แจ้งว่า  “failed to fetch”หรือเหมือนอย่างด้านล่าง
=====================================================
Err http://security.ubuntu.com precise-security Release.gpg
  Unable to connect to security.ubuntu.com:http: [IP: 91.189.92.190 80]
Reading package lists... Done
W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise/InRelease  

W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-updates/InRelease  

W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-backports/InRelease  

W: Failed to fetch http://security.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-security/InRelease  

W: Failed to fetch http://extras.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise/InRelease  

W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise/Release.gpg      Unable to connect to ph.archive.ubuntu.com:http: [IP: 91.189.92.177 80]

W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-updates/Release.gpg  Unable to connect to ph.archive.ubuntu.com:http: [IP: 91.189.92.177 80]

W: Failed to fetch http://ph.archive.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-backports/Release.gpg  Unable to connect to ph.archive.ubuntu.com:http: [IP: 91.189.92.177 80]

W: Failed to fetch http://extras.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise/Release.gpg  Unable to connect to extras.ubuntu.com:http:

W: Failed to fetch http://security.ubuntu.com/ubuntu/dists/precise-security/Release.gpg  Unable to connect to security.ubuntu.com:http: [IP: 91.189.92.190 80]

W: Some index files failed to download. They have been ignored, or old ones used instead.
==========================================================

วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

การติดตั้ง Web Server (apache)

เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ
                เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องบริการเว็บแก่ผู้ร้องขอด้วยโปรแกรมประเภทเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ร้องขอข้อมูลผ่านโปรโตคอลเฮชทีทีพี (HTTP = Hyper Text Transfer Protocol) เครื่องจะส่งข้อมูลให้ผู้ร้องขอในรูปของข้อความ ภาพ เสียง หรือสื่อผสม เครื่องบริการเว็บจะเปิดบริการพอร์ท 80 (HTTP Port) ให้ผู้ร้องขอได้เชื่อมต่อผ่านโปรแกรมประเภทเว็บ
สิ่งที่
Web Server  ต้องการมีอยู่ 3 โปรแกรมหลัก
                -  Apache   :   เป็นซอร์ฟแวร์ที่ทำให้เครื่องให้บริการเป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์
                -  PHP         :   โปรแกรมที่ทำหน้าประมวลผลการทำงานของภาษา PHP
                -  MySQL     :  โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล  
โดยหน้าที่หลักของ webserver ทั่วไปมีดังนี้
                - คอยจัดการ Request ก็คือ การร้องขอข้อมูล
               
- คอยจัดการ Resposne ก็คือ การส่งข้อมูลกลับไป
               
- คอยจัดการ process และจัดลำดับ ของ request และ response
               
- คอยเก็บ logs ที่มีการ access เข้ามารวมกระทั้ง error ต่างๆๆ ที่ webserver พบ เช่น ไม่เจอไฟล์ชื่อนี้
                 -สามารถ เอา module มาใช่ร่วมกับ webserver ได้ ยกตัวอย่างเช่น Apache นั้น ไม่สามารถ run ไฟล์ .php ได้ ต้อง เรียกใช้ module php อีกที หรือ การ rewrite url ก็ใช่เดียวกันต้องใช้ mod_rewrite ในการสร้าง


วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

IP Address


IP Address 

IP Address หรือ Internet Protocol Address มีความสำคัญอย่างไร และเกี่ยวข้องอะไรกับ
เราบ้าง ปัจจุบันคงไม่ต้องกล่าวถึงแล้ว IP Address เป็นหมายเลขที่ใช้กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ
อุปกรณ์ Network ต่างๆ เช่น Router, Switch , Firewall , IP Camera , IP Phone , Access
point , เป็นต้น และอีกไม่นานอุปกรณ์ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์สื่อสารทุกประเภทที่จะออกวางจำหน่ายจะมีIP
Address ติดมาด้วยจากโรงงานเลยทีเดียว IP Address ที่ใช้ในปัจจุบันนั้นจะเป็นชนิดที่เรียกว่า IPv4
(IP version 4) ซึ่งไม่เพียงพอต่อการใช้งาน จึงมีการพัฒนาเป็น IPv6 (IP version 6) เพื่อรองรับ
อุปกรณ์และเทคโนโลยีใหม่ๆที่ต้องใช้IP Address ในการติดต่อสื่อสาร และในเมืองไทยเองก็มีการใช้IPv6
ในหลายหน่วยงานแล้ว หน่วยงานที่จัดสรร IP Address ให้ในแถบ Asia Pacific คือAPNIC ผู้
ให้บริการ Internet หรือ ISP จะขอ IP จาก APNIC แล้วนำมาแจกจ่ายให้แก่ลูกค้าของ ISP นั้นๆอีกต่อไป
สำหรับผู้ที่จะสอบใบ Certificate ค่ายต่างๆ เช่น CCNA , CCNP , LPI , Security + , CWNA
เป็นต้น ล้วนแล้วแต่จะต้องมีความรเู้ กี่ยวกับ IP Address ทั้งสิ้น โดยเฉพาะ IPv4 จะต้องคำนวณได้อย่าง
แม่นยำและรวดเร็ว

วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การติดตั้ง Web server แบบ SSL (Self Sign)


การติดตั้ง Web server แบบ SSL (Self Sign)


         SSL(Secure Socket Layer)เป็นการเข้ารหัสข้อมูลในการรับส่งข้อมูล โดยจะมีทั้งแบบที่เป็น Self Sing คือผู้จัดทา Certificate เป็นผู้รับรองตนเอง และแบบที่เป็นการรับรองจากองค์กรอื่นๆ เช่น ในกรณีของผู้ให้บริการ Certification Authority (CA)
สร้างไดเร็กทอรี่สาหรับติดตั้ง key โดยใช้คาสั่ง

$sudo mkdir –p /ect/webssl/
$cd /etc/webssl/

ติดตั้งโปรแกรม openssl โดยใช้คาสั่ง

$sudo apt-get install open ssl

ก่อนอื่นปรับแต่งแฟ้มข้อมูล /etc/ssl/openssl.cnf
เพื่อความเหมาะสมกับการทำงาน

# nano /etc/ssl/openssl.cnf

ให้เปลี่ยนตัวแปร CountryName_default เป็น TH
CountryName_default = TH
ให้เปลี่ยนตัวแปร State0rProvinceName_default จาก same-state เป็น ค่าว่าง
State0rProvinceName_default =
สร้าง private key

วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Failed to load session “ubuntu”



Failed to load session “ubuntu”

     วันนี้ผมมีเรื่องจะเล่าให้ฟังล่าสุดผมเพิ่งลง ubuntu  server แล้วอยากติดตั้ง GUI ของมันซึ่งก็เปิดหาจากบทความทั้วๆไปนะคับซึ่งผมก็ลงตามอ่ะนะแล้วพอกด  startx  ซึ่งเป็นคำสั่งในการรันหน้า  GUI ปรากฏว่า  ชิบ.....   มันแจ้งว่า   Failed to load session “ubuntu”   ซวยละเลยต้องหาวิธีแก้ก็ไปเจอมาแจ่มมากลองแล้ว  ถ้าใครประสบปัญหาแบบผม  ทำตามนี้ได้เลยนะคับ  ^ ^ (ไม่รุว่ามันมีวิธีอื่นที่ง่ายกว่านี้ไหมอ่ะนะ)

1.เราก็ บูท Ubuntu  ขึ้นมาทำการล๊อกอินให้เรียนร้อย

2.พิมพ์คำสั่งตามนี้เลย

sudo apt-get update
sudo apt-get install unity-2d
sudo apt-get install ubuntu-desktop
sudo apt-get install compizconfig-settings-manager
sudo apt-get install compiz-plugins-extra
sudo apt-get update

3.ทำการรีสตาร์ทเครื่องจากคำสั่ง  sudo shutdown -r now   เมื่อรีสตาร์ทมามันจะขึ้นหน้า GUI ให้เราทันทีซึ่งถ้าใครอยากจะให้มันรันหน้า  text ก่อนผมก็ได้เขียนบทความเกียวกับเรื่องนี้ไว้แล้วลองอ่านดูได้นะคับ
ตามลิ้งค์นี้เลย http://moonlining.blogspot.com/2013/02/ubuntu-gui-boot-in-ubuntu-12.html

คำสั่ง และการใช้งานโปรแกรม VI - Editor



คำสั่ง และการใช้งานโปรแกรม VI - Editor

      ผมเพิ่งหัดใช้งาน  vi-editor แล้ว  เห้ยใช้ง่ายดีเนอะ ^^ วันนี้เลยเอามาฝากกัน(ซึ่งผมก็ไปก๊อปเค้ามาแล้วไอคนที่ผมก๊อปมาเค้าก็ไปก๊อปมาอีกที  )  ..งงม่ะช่างเถอะเข้าเรื่องกันเลยดีกว่าเนอะ  = ="

ในระบบยูนิกซ์ทั่วไปจะต้องมีเครื่องมือสำหรับเอาไว้ตกแต่งแก้ไขไฟล์เอกสาร ประจำไว้อยู่ตัวหนึ่ง ซึ่งก็คือ vi (อ่านว่า วี-ไอ) ในตอนเริ่มแรกของการ ใช้งาน vi แทบทุกคนจะบอกว่า การใช้งานและการทำความเข้าใจนั้นยาก กว่า Editor ที่เป็นพวก Pulldown Menu Driven บนดอส เช่นพวก เวิร์ด จุฬาฯ หรือ Q-Editor มาก (ในยูนิกซ์จะเป็นพวก Emacs หรือ pico)

แต่หากคุณพยายามฝึกฝนใช้งานไปสักพักหนึ่งแล้ว คุณจะรู้สึก ว่า vi เป็น Editor ที่มีการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดตัว หนึ่ง และคุณสมบัติต่างๆ ของ vi ที่มีมาให้ก็จะสามารถทำให้คุณใช้งาน vi ได้ อย่างสะดวกสบายมากขึ้น นอกจากนี้การที่คุณใช้งาน vi เป็น จะทำให้คุณได้ เปรียบ กว่าการใช้งาน Editor ตัว อื่นๆ เพราะ vi เป็น Editor พื้นฐานที่จะ ต้องมีประจำไว้กับยูนิกซ์ทุกตัวอยู่แล้ว ในขณะที่ Editor ตัวอื่นๆคุณอาจหา ไม่พบใน ยูนิกซ์รุ่นอื่นๆก็ได้..

วิธีการใช้งานอย่างคร่าวๆ

vi จะมีรูปแบบการใช้งาน (mode) อยู่สามแบบคือ
Command mode
Insert mode
Last line mode

Command mode 

        จะเป็นโหมดปกติตอนเริ่มต้น vi ในโหมดนี้คุณสามารถจะทำการ เคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์ ลบข้อความ สำเนาข้อความ และทำงานอื่นๆได้ การทำงาน ใน mode นี้จะเป็นการเคลื่อนย้ายเคอเซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ หากย้ายไป ตำแหน่งที่ไม่มีข้อมูล มันจะส่งเสียงเตือน ตัวอักษรที่ใช้ใน mode นี้ที่ สำคัญได้แก่

การทำให้ Ubuntu รันหน้า text (Disable GUI Boot in Ubuntu 12.04)


 การทำให้ Ubuntu  รันหน้า  text  (Disable GUI Boot in Ubuntu 12.04)

      
            หลายคนอาจจะเคยลองเล่น   Ubuntu  Server แล้วลง GUI   แต่ทะลึ่งยากให้มันรันหน้า  Text (ซึ่งผมก็เป็นไอทะลึงหนึ่งในนั้น)  เรามาลองทำกันเลยดีกว่า

1.ให้เราล๊อกอิน  User  Root  นะคับเพราะว่าไฟล์ที่เราจะไปแก้มันให้ สิทธ์ Root  ในการแก้โดยใช้คำสั่ง  
sudo su  นะคับแล้วก็ เข้าไปเล๊ย แล้วก็ตามด้วยคำสั่ง  sudo apt-get update

วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วิธีการ Install Ubuntu server 12.04.1 LTS 64 bit



วิธีการ Install Ubuntu server 12.04.1 LTS 64 bit

          ดาวน์โหลดไฟล์ ISO ที่เว็บ www.ubuntu.com โดยตัวไฟล์นี้จะอยู่ให้หมวด Downloadแล้วก็เลือก Ubuntu Server โดยจะเลือก version 64 bit ซึ่งจะเป็น version ที่แนะนำไว้อยู่แล้วเมื่อดาวน์โหลดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เขียนไฟล์ลงบนแผ่น CD(หรือจะบูทเป็นแฟร์ชไดร์ฟก็ได้)


        

วันอังคารที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2556

คำสั่ง Ubuntu Server


คำสั่ง Ubuntu Server


คำสั่ง Ubunut


ls
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับ dirของDOS) มากจากคำว่า list
รูปแบบคำสั่ง ls [option] [file]
option ที่มักใช้กันใน ls คือ
-l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย
-a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด
-F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้
ตัวอย่างการใช้งาน
ls -l
ls -al
ls -F

adduser
คำสั่งเพิ่ม User ให้กับระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน adduser -g (group) -d (Directory) (User)
ตัวอย่าง adduser -g root -d /home/user1 user สร้าง User ชื่อ Login คือ user1 เป็นสมาชิกในกลุ่ม root

useradd
คำสั่งเพิ่ม User ให้กับระบบ Unix,Linux (ใช้เหมือนกับคำสั่ง adduser)
รูบแบบการใช้งาน useradd -g (group) -d (Directory) (User)
ตัวอย่าง useradd -g root -d /home/user1 user สร้าง User ชื่อ Login คือ user1 เป็นสมาชิกในกลุ่ม root


วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

การติดตั้งJDKและเซตPart

การติดตั้งJDKและเซตPart


1.Download โปรแกรม เราสามารถ Download ตัวโปรแกรมได้ที่ http://www.oracle.com/technetwork/java/javase/downloads/index.html

เลือก Accept License Agreement  และ Download ตัวที่รองรับกับ OS เรา